FOSS4G2009 Sydney,Australia

Standard

อีกครั้งสำหรับ FOSS4G Conference ครั้งนี้จัดที่ Sydney,Australia ระหว่าง 20-23 Oct 2009

FOSS4G Conference

ก็หวังว่าจะได้ไปร่วมอีกครั้งหลังจากครั้งที่แล้วพลาด เพราะยุ่งกับการเตรียมตัวจบ

ครั้งนี้ก็ได้มีส่วนร่วมนิดหน่อย (เท่านั้น) กับการช่วย อจ ไพศาลแปลข้อความเป็นภาษาไทย

ครั้งนี้ถ้าใครไปร่วมแล้วมีส่วนร่วมช่วย vote ให้ด้วยแล้วกันนะครับ เพราะมีคนส่งไปเกือบ 180 abstract แต่สงสัยจะรับได้ไม่เกิน 100 เท่านั้น

อยู่แถว ๆ หน้าที่ 5-7 ได้นะ ฝากด้วยนะครับ

Validation of Satellite Image with Ground Sensor Network based on OGC Web Services Framework (Sarawut Ninsawat)

ทั้งนี้และทั้งนั้น ฝาก vote ให้ของ อจ ไพศาลและ น้องชัยภัทร ด้วยนะครับ

The Capacity Building Tools ‘FOSS4G’ (Phisan Santitamnont)

Implementation OGC Sensor Web Enablement supporting Local Participation in Water Resource Management (chaipat Nengcomma)

W3DS and WTS

Standard

ต้องปั่น paper สำหรับเรื่อง Geoinforum 2008 ก็เลยต้องทำการค้นคว้าหาข้อมูลสักนิดเลย ได้รู้ถึงความแตกต่างของ draft standards จาก OGC
คือ

W3DS [Web 3D Service] และ WTS [Web Terrain Service]

เอานิยามไปก่อนแล้วกัน

W3DS  = The Web 3D Service is a portrayal service for
three-dimensional geodata, delivering graphical elements from a given
geographical area. In contrast to the OGC Web Mapping service (WMS) and the OGC
Web terrain service (WTS) 3D scene graphs are produced. These scene graphs will
be rendered by the client and can interactively be explored by the user. The
W3DS merges different types (layers) of 3D data in one scene graph.

WTS = A Web Terrain Service (WTS) produces views of georeferenced data. We define a “view” as a visual representation of geodata; a view is not the data itself. These views are generally rendered in a pictorial format such as Portable Network Graphics (PNG), Graphics Interchange Format (GIF) or Joint Photographic Expert Group (JPEG) format.

สรุปคือ W3DS นั้น ได้ output เป็นแบบ VRML หรือ SVG ที่ให้ user สามารถเปลี่ยนมุมมองได้อย่างอิสระ

แต่ะ WTS คือ snapshot ภาพ 3D render นั้นเอง

Powered by ScribeFire.

ใช้ author_keys ใน SSH

Standard

จะเขียนหลายที แล้วก็ลืม ก็เลยเขียนสะ

คือ ปกติใช้ SSH มันก็ปลอดภัยอยู่ประมาณนึง แต่มันก็ยังไม่ปลอดภัยสะทีเดียว เพราะพวก hacker อาจใช้การสุ่ม passwd เข้ามาได้ หรือหากเค้าได้ passwd เราจากที่ไหนก็อาจจะเข้าไปได้

แต่การสร้าง Privatekey ก็เหมือนใส่กุญแจ lock จะสามารถ login ได้จากเครื่องที่มีกุญแจ อยู่เท่านั้น กุญแจนั้นก็เป็นไฟล์ มีรหัสอยู่ภายในธรรมดา งั้นเรามาเริ่มสร้าง กุญแจภายในเครื่อง client กันก่อน

ถ้าใน linux ให้ใช้คำสั่ง

ssh-keygen -t dsa

มันจะถามว่า เก็บกุญแจไว้ที่ไหน ส่วนใหญ่ก็ใน /home/<name>/.ssh/

แล้วก็ทำการใส่ passpharse ก็เหมือนใส่ password key ที่จะใช้ไข เข้า เครื่อง server

จากนั้นก็จะได้ ไฟล์ id_rsa.pub

ให้เราทำการ copy ไฟล์นี้ไปไว้ที่เครื่อง serverไว้ในไหนก็ได้

แล้วให้ทำการแทรกข้อมูลของไฟล์ กุญแจ id_rsa.pub เข้าไปใน /home</name>/.ssh/author_keys

โดยใช้คำสั่ง

cat id_rsa.pub >> /home/<name>/.ssh/author_keys

เพราะว่าเราสามารถสร้าง กุญแจจากหลายเครื่อง client เข้าสู่ server จึงต้องทำแทรกเข้าไปในไฟล์นั้น

จากนั้นก็คงจะใช้ได้แล้วละนะ

Hello world!

Standard

สวัสดีครับ ถ้าใครเข้ามาอ่าน blog อันนี้หวังว่าจะมีประโยชน์อะไร ไม่มากก็น้อย นะครับ จุดประสงค์ของ blog อันนี้แค่เอาไว้เป็นเครื่องช่วยตืนความจำ ของผม แต่ก็พร้อมจะเผยแพร่ให้กับทุกคน

หากมีอะไรเพิ่มเติม สงสัย ก็ comment ไว้ได้นะครับ ถ้าช่วยตอบได้จะช่วย

 

Creates a PrimaGIS demo instance

Standard

วันนี้เราจะมาพูดถึงการสร้าง PrimaGIS Demo instance ก่อนนะครับ ส่วนการติดตั้ง เดี๋ยวเรียบเรียงอีักที

ข้างล่างก็เป็น link ไปสู่การอธิบายโดยละเอียด โดยใน Blog นี้จะไม่เ้น้นการอธิบายซ้ำกระบวนการหลักหากมันมีอยู่แล้ว แต่จะเป็นการ สรุป และบอกในบางส่วนปลีกย่อยสะมากกว่า โดยใช้ประสบการณ์หลักของผมเองนะครับ หากผู้ใดอ่านแล้วบางทีอาจไม่เข้าใจ ยังไงลอง mail ถามดูนะครับ

http://www.primagis.fi/documentation/install_linux

ก็จะมีวิธีการ Setup และ ติดตั้ง demo ของมันอยู่

หลัก ๆ เลยให้เข้าไป run script ใน

Plone -> portal_skins -> PrimgaGIS-> createPrimaGISDemo (Create a PrimaGIS demo instance)

มันจะมีให้ Customize หรือ Test ต้องทำการแก้ไข path สำหรับ mapdata,tmp และ font จากนั้นก็ลอง run สะ

หาก run แล้ว error ให้ลองแก้ไขค่า oid ซึงมันอาจจะซ้ำ
ในที่นี้สมมุติว่า oid = demo

จากนั้นก็จะมี directory ตามชื่อ oid ที่ระบุข้างบน ให้ลองเข้า

demo>zco>layers->world_borders

ให้เลือกที่ tab “Edit” ก็น่าจะเห็นรูปภาพของ แผนที่ด้านล่างหากไม่ได้ลองกด link ที่มันจะอธิบายรายละเอียดของการ error โดยส่วนใหญ่อาจะเป็น font, tmp path, gif support หรือ projection

ก้อทำตามขั้นตอนข้างบนก็น่าจะผ่าน ฉลุย

โดยอีกจุดหนึ่งที่บางครั้งสร้างเสร้จแ่ต่ user บางคนเปิดแล้วไม่เห็นข้อมูลใดนั้น จำเป็นต้องทำการเปลี่ยน Status Content จาก “public draft” ให้เป็น “publish” ก่อนนะคร้าบ